วันเสาร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2555

การเชื่อมประพจน์

การเชื่อมประพจน์
ในวิชาคณิตศาสตร์หรือในชีวิตประจำวัน จะพบประโยคที่ได้จากการเชื่อมประโยคอื่นๆ ด้วยคำว่า
และ”  “หรือ” “ถ้า...แล้ว...”  “ก็ต่อเมื่อ หรือพบประโยคซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากประโยคเดิมโดย
เติมคำว่า ไม่ คำเหล่านี้เรียกว่า ตัวเชื่อม(connectives) เช่น
                                      ในการเชื่อมประโยคโดยส่วนมากจะใช้คำเชื่อมดังนี้
                            และ                             Λ
                            หรือ                             V
                            ถ้า...แล้ว                                                
                            ก็ต่อเมื่อ                                                
                            นิเสธ                                                     ~
                        จะทำหน้าที่เปลี่ยนเป็นตรงกันข้ามเช่น จริง เป็น เท็จ อาจมีคำอื่นก็ได้เช่น
                                                        คำว่า และ = แต่ กับ
                            ตัวอย่างเช่น
                                pΛq       แทน    pและq
                                pVq       แทน    pหรือq
                                pq      แทน    ถ้าpแล้วq
                                pq      แทน    pก็ต่อเมื่อq
                                ~p  (T)   แทน    p  (F)
                       วิธีคิดแถวของตารางค่าความจริงนั้น โดยใช้สูตร
                                       2 กำลัง N  ( N คือ จำนวนของประพจน์) เช่น
                                       มี 2 ประพจน์ ได้แก่ p,q       2 กำลัง 2 เท่ากับ 4 แถว
                                       มี 3 ประพจน์ ได้แก่ p,q,r     2 กำลัง 3 เท่ากับ 8 แถว
                                       มี 4 ประพจน์ ได้แก่ p,q,r,s  2 กำลัง 4 เท่ากับ 16 แถว เป็นต้น
                             การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "และ"
                             การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "หรือ"
                             การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "ถ้า...แล้ว..."
                             การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "ก็ต่อเมื่อ"
                             นิเสธของประพจน์


การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "และ"
ในการเชื่อมประพจน์ด้วย "และ" มีข้อตกลงว่าประพจน์ใหม่จะเป็นจริงในกรณี
ที่ประพจน์ที่นำมาเชื่อมกันนั้นเป็นจริงทั้งคู่ กรณีอื่นๆเป็นเท็จทุกกรณี
p Λ q       แทน       p และ q
p Λ q  เป็น T กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง p และ q เป็น T
p
q
p Λ q
T
T
T
T
F
F
F
T
F
F
F
F
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม หรือ
                 ในการเชื่อมประพจน์ด้วย "หรือ" มีข้อตกลงว่าประพจน์ใหม่จะเป็นเท็จในกรณีที่  ประพจน์ที่นำมา
เชื่อมกันเป็นเท็จทั้งคู่ กรณีอื่นๆ เป็นจริงทุกกรณี
p V q       แทน    p หรือ q
p V q  เป็น F กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง p และ q เป็น F  
p
q
p V q
T
T
T
T
F
T
F
T
T
F
F
F


การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม ถ้า...แล้ว...
  ในการเชื่อมประพจน์ด้วย ถ้า...แล้ว... มีข้อตกลงว่าประพจน์ใหม่จะเป็นเท็จ 
ในกรณีที่เหตุเป็นจริงและผลเป็นเท็จเท่านั้น กรณีอื่นๆเป็นจริงทุกกรณี ถ้า p และ
q เป็นประพจน์ ประพจน์ใหม่ที่ได้จากการเชื่อมด้วย ถ้า...แล้ว... คือ
ถ้า p แล้ว q เขียนแทนด้วย
p ® q และตารางค่าความจริงของ p ® q เขียนได้ดังนี้ 
p ® q      แทน    ถ้า p แล้ว q
p ® q เป็น F กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง pเป็น Tและ qเป็น F
p
q
p ® q
T
T
T
T
F
F
F
T
T
F
F
T



ที่มาจาก : http://inet.tht.in/page41.html

1 ความคิดเห็น: